การ เก็บ ข้อมูล ทาง สังคมศาสตร์

เทคนิคการสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูลสำหรับการวิจัย. กรุงเทพฯ: B&B Publishing, 2542. สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ:เฟื่องฟ้าพริ้นติ้ง, 2544.

เครื่องมือวิจัย - reconflict

การเก็บข้อมูลทางสังคมศาสตร์

การเก็บรวบรวมข้อมูล - GotoKnow

เครื่องมือการวิจัยที่ใช้เก็บรวบรวบข้อมูลทางสังคมศาสตร์ที่นิยม ที่มา: เครื่องมือการวิจัยที่ใช้เก็บรวบรวบข้อมูลทางสังคมศาสตร์ที่นิยมใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม (Questionnaire) แบบสัมภาษณ์ (Interview) แบบวัดความรู้หรือแบบทดสอบ (Test) แบบวัดสเกล (Scale) แบบบันทึกข้อมูล (Record) แบบบันทึกการสังเกต (Observation) และผู้วิจัยเอง 1.

การเก็บข้อมูลทางสังคมศาสตร์

แบบทดสอบหรือแบบวัดความรู้ (Test) เป็นชุดคำถามที่ใช้วัดความสามารถ ความถนัด ความรู้เฉพาะเรื่อง เป็นต้น อาจมีลักษณะคำถามเป็นแบบปรนัย หรืออัตนัยก็ได้ ผู้ทำการวิจัยต้องทดสอบความถูกต้องของเนื้อหา (Content validity) และหาความน่าเชื่อถือหรือความเที่ยง (Reliability) ก่อนนำไปใช้ เพื่อให้ข้อมูลมีความน่าเชื่อถือดีขึ้น แบบทดสอบหรือแบบวัดความรู้นี้ ส่วนใหญ่นิยมใช้แบบปรนัย 4. แบบวัดสเกล (Scale) เป็นชุดของรายการคำถาม ส่วนใหญ่นิยมใช้วัดเจตคติ ความคิดเห็น ความเชื่อ หรือแรงจูงใจ เป็นต้น มีลักษณะที่สำคัญดังนี้ 1. มีระดับความเข้มให้ผู้ตอบเลือก 3 ระดับ หรือ 5 ระดับ (มี 2 วิธีที่นิยมใช้ คือวิธีของ Likert และวิธีของ Osgood) เช่น "เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย" หรือ "เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง" 2. มีแนวคำตอบทั้งเชิงบวกและเชิงลบ เช่น คำถามเชิงบวก "การป้องกันการติดเชื้อเอดส์ที่ดีที่สุดคือการไม่สำส่อนทางเพศ" ความคิดเห็น "เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง" คำถามเชิงลบ "ค่านิยมทางเพศบางอย่างเช่นการเลี้ยงดูปูเสื่อมีผลต่อการระบาดของโรคเอดส์น้อย" 3.

  1. หน้า จอ ซัม ซุง a200
  2. รวมลายสัก รอยสัก - 100 ลายสัก รอยสัก ร้านสัก Tattoo
  3. แบบ บ้าน ชั้น เดียว ราคา 700 000
  4. การเก็บรวบรวมข้อมูล - GotoKnow
  5. ราคา ตู้ แอร์ รถยนต์ honda civic engagement

สามารถปรับความคิดเห็นหรือความเชื่อดังกล่าวเป็นระดับคะแนนได้ เช่น ลักษณะคำถามเชิงบวก คำตอบความคิดเห็น "เห็นด้วยอย่างยิ่ง ได้ 5 คะแนน แล้วลดลงตามดับ เหลือ 1 คะแนน" ลักษณะคำถามเชิงลบ คำตอบความคิดเห็น "เห็นด้วยอย่างยิ่งได้ 1 คะแนน แล้วเพิ่มขึ้นตามลำดับจนได้ 5 คะแนน" 5. แบบบันทึกข้อมูล (Record) ส่วนใหญ่ใช้เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีอยู่แล้ว หรือข้อมูลทุติยภูมิ เช่น ข้อมูลจากการจดทะเบียนต่างๆ ข้อมูลจากรายการ หรือข้อมูลที่มีผู้อื่นศึกษาไว้แล้ว เครื่องมือชนิดนี้สะดวก รวดเร็ว ประหยัดค่าใช้จ่าย แต่ข้อมูลที่ได้มาอาจมีปัญหาด้านความสมบูรณ์ ความน่าเชื่อถือ และความทันสมัยของข้อมูล 6. การจดบันทึกจากการสังเกต (Observation) ในการเก็บข้อมูลประกอบ หรือข้อมูลที่อาจเกี่ยวข้องปัญหาสุขภาพนั้น บางครั้งมีความจำเป็นต้องอาศัยการสังเกต การสังเกตอาจเป็นแบบมีส่วนร่วม (Participant observation) หรือแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-participant observation) ก็ได้ ข้อมูลที่ได้จากการสังเกต ผู้วิจัยต้องรีบจดบันทึก ซึ่งอาจมีปัญหาด้านความลำเอียง และการแปลผลของผู้สังเกตได้ 7. ผู้วิจัย (กรณีการวิจัยเชิงคุณภาพ) ผู้วิจัยจะทำหน้าที่เป็นเครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมูลในกรณีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยผู้วิจัยจะใช้เทคนิคในการรวบรวมข้อมูลที่ไม่ใช่เชิงปริมาณ เช่น การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth interview) การอภิปรายกลุ่มย่อย (Focus group discussion) และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant observation) เป็นต้น

April 25, 2022

poccgram.com, 2024